Basic Refrigeration ED1.0_4SEP22

(kitipong j.) #1

___บทที่^3 วัฏจักรการท าความเย็นแบบอัดไอ^ ||^105
__
5. ระบบทําความเย็นออกแบบสารทําความเย็น R-134a ที่คอยล์เย็นมีความดันอยู่
ที่ 0.2 MPa(a) มีความสภาวะเป็นไอร้อนยิ่งยวดมีสูงขึ้นกว่าช่วงเปลี่ยนสถานะ 15
ºC ก่อนเข้าคอมเพรสเซอร์ โดยที่ความดันในคอนเดนเซอร์มีค่าเท่ากับ 1.5
MPa(a) สารทําความเย็นที่ทางออกคอยล์ร้อนมีสภาวะต่ําเป็นของเหลวอัดตัวต่ํา
กว่าช่วงเปลี่ยนสถานะ 5 ºC และพลังงานที่ให้กับคอมเพรสเซอร์ 10 kW


จงหา 1. อุณหภูมิที่คอยล์เย็น และคอยล์ร้อน (TEvap) and (TCond)




  1. อุณหภูมิที่เข้าคอมเพรสเซอร์ และออกจากคอยล์ร้อน (T 1 ) and (T 3 )
    3. อัตราการไหลเชิงมวลของน้ํายา (ṁr)
    4. ความสามารถในการทําความเย็นในหน่วย TON (Q̇L)
    5. ความร้อนที่ระบายออกจากคอยล์ร้อนในหน่วย kW (Q̇H)
    6. ประสิทธิภาพการทําความเย็น (COP)
    7. อัตราส่วนประสิทธิภาพพลังงานของเครื่องปรับอากาศ (EER)




  2. สารทําความเย็น R- 410 มีการออกแบบระบบทําความเย็นก่อนจะเข้าสู่
    คอมเพรสเซอร์มีออุณหภูมิ - 13 ºC มีสถานะเป็นไอยิ่งยวดมีอุณหภูมิมากกว่าใน
    คอยล์เย็น 15 ºC ที่คอยล์ร้อนมีการระบายความร้อนออก 20 kW และอุณหภูมิที่
    ทางออกของคอยล์ร้อนพบว่ามีอุณหภูมิอยู่ที่ 40 ºC มีสถานะเป็นของเหลวอัดตัว
    ซึ่งมีอุณ หภูมิต่ํากว่าจุดเปลี่ยนสถานะอยู่ที่ 1 5 ºC
    จงหา 1. อุณหภูมิที่คอยล์เย็น และคอยล์ร้อน (TEvap) and (TCond)




  3. อัตราการไหลเชิงมวลของน้ํายา (ṁr)




  4. ความสามารถในการทําความเย็นในหน่วย TON (Q̇L)




  5. พลังงานที่ให้กับคอมเพรสเซอร์ kW (Ẇ)




  6. ประสิทธิภาพการทําความเย็น (COP)




  7. อัตราส่วนประสิทธิภาพพลังงานของเครื่องปรับอากาศ (EER)



Free download pdf