Basic Refrigeration ED1.0_4SEP22

(kitipong j.) #1

(^116) _____ || การทําความเย็นเบื้องต้น (^)
ṁrII(h2II−h3II)= ṁrIII(h1III−h4III) 4.13^
จัดรูปสมการที่ 4.13 ได้ดังต่อไปนี้
ṁrIII
ṁrII=
(h2II−h3II)
(h1III−h4III)^ 4.14^
(^)
จัดรูปสมการที่ 4.8 ด้วยการคูณ mṁ̇rIrI
COP3state (^) mṁ̇rIrI = ṁrI(h2I−h1I)+ṁrIIṁ(rIh(2IIh1I−−h1IIh4I))+ṁrII(h2III−h1III) mṁ̇rIrI 4.15
จัดรูปสมการที่ 4. 15 ได้ดังต่อไปนี้
COP3state = (h2I−h1I)+ṁrII (h1I−h4I)
ṁrI(h2II−h1II)+mṁ̇rIIIrI(h2III−h1III)
(^) 4.16
แทนสมการที่ 4.11 และ4 .14 ลงในสมการที่ 4.16 ได้เป็นดังนี้
COP3state = (h2I−h1I)+ (h2I−h3I) (h1I−h4I)
(h1II−h4II)(h2II−h1II)+^ (^ h(h1III2II−−hh4III3II))^ (h2III−h1III)
(^) 4. 17


4.3 การหาอุณหภูมิที่จุดเชื่อมต่อที่เหมาะสม


การทําความเย็นหลายชั้นนั้นทําเพื่อต้องการออกแบบระบบทําความเย็น


นั้นทํางานได้มีประสิทธิภาพการทําความเย็นที่สูงขึ้นมากกว่าการทําความเย็นแบบ


ชั้นเดียวที่อุณหภูมิด้วยคอยล์ร้อนและคอยล์เย็นเดียวกัน การออกแบบการทํา


ความเย็นหลายชั้นนั้นต้องทําการคํานึงอุณหภูมิที่เชื่อมต่อระหว่างชั้นของระบบทํา


ความเย็นด้วยว่าต้องทําการออกแบบที่อุณหภูมิกี่องศาถึงจะทําให้ระบบทําความ


เย็นนั้นเกิดประสิทธิภาพการทําความเย็นนั้นสูงสุด

Free download pdf