Basic Refrigeration ED1.0_4SEP22

(kitipong j.) #1

___บทที่ 1 การทําความเย็น และวัฏจักรการทําความเย็น_^ || _^5


จากรูปที่ 1. 2 จะแสดงให้เห็นว่าการการเปลี่ยนสถานะของน้ํานั้นสามารถ
ทําให้เกิดการเดือดได้ที่อุณหภูมิต่ํากว่า 100๐C ได้โดยทําการควบคุมความดันของ
น้ําให้ต่ํากว่าความดัน 1 ATM ในทางกลับกันเมื่อต้องการที่จะให้น้ํามีจุดเดือดสูง


กว่า 100๐C ก็สามารถทําได้โดยการเพิ่มความดันให้มากกว่า 1 ATM


รูปที่ 1.3 น้ําในภาชนะที่ความดัน 101.42 kPa ที่อุณหภูมิอากาศภายนอก 35๐ C

การเปลี่ยนสถานะของสสาร จากของแข็งไปเป็นของเหลว หรือของเหลว
ไปเป็นไอ หรือของแข็งไปเป็นไอสสารจะเกิดดูดพลังงานความร้อนจากสิ่งแวดล้อม
ถ้าสารเปลี่ยนสถานะจากไอเป็นของเหลว หรือของเหลวไปเป็นของแข็ง หรือไอไป
เป็นของแข็ง สสารเกิดคายความร้อนให้กับสิ่งแวดล้อมขณะที่สารเปลี่ยนสถานะ
อุณหภูมิของสารจะไม่เปลี่ยนแปลงแม้ว่าจะดูดความร้อนตลอดเวลา เพราะความ
ร้อนถูกใช้ในการเปลี่ยนสถานะปริมาณความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะเรียกว่า
" ความร้อนแฝง " ความร้อนแฝงจะมีหลายชนิดขึ้นอยู่กับสถานะของสสาร จะเห็น

Free download pdf